บิ้วอินชั้นวางทีวี

บิ้วอินชั้นวางทีวี

บิ้วอินชั้นวางทีวี เฟอร์นิเจอร์บิวท์อินชั้นวางทีวี คืออะไร

บิ้วอินชั้นวางทีวี

บิ้วอินชั้นวางทีวี ได้มีประสบการณ์การ ทำชุดครัว บิ้วท์อินสักครั้ง เชื่อได้เลยว่าต้องมีคำพูดในใจว่า “กว่าที่เราจะได้ชุดครัวสวยอย่างที่เห็น..ย่อม ต้องผ่านขั้นตอนมากมาย ทั้งยากและง่ายปะปนกันไป บางครั้งก็ต้องลองผิดลองถูกกัน กว่าจะได้ชุดครัว ที่สวยและถูกใจ ซึ่งประสบการณ์ ของผู้ที่เคยผ่านจะมีกระบวนการคิด การทำงานที่แตกต่างกัน

ได้รวบรวม และสรุปขั้นตอนการทำชุดครัว แบบบิ้วท์อินที่ถูกต้อง เพื่อเป็นแนวทางสำหรับ ผู้ที่สนใจโดยจะเริ่มตั้งแต่การเลือกรูปแบบ การเลือกใช้วัสดุ ระยะที่เหมาะสม รวมทั้งเทคนิคการ เลือกเครื่องใช้ไฟฟ้า และอุปกรณ์ในห้องครัว

ถ้าสรุปขั้นตอนในการทำชุด บิ้วอินห้องครัว จะมีด้วยกัน 4 ขั้นตอน คือ

  • -การเลือกรูปแบบชุดครัว
  • -การเลือกใช้วัสดุ
  • -การเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ในห้องครัว
  • -การเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์ในห้องครัว

1.การเลือกรูปแบบชุดครัว

การเลือกรูปแบบผังเคาน์เตอร์ ในการทำชุดครัวบิ้วท์อินที่ผ่านมาเราอาจคุ้นเคยกับการวางผังเคาน์เตอร์ครัวโดยยึดหลักสามเหลี่ยมนั่นคือ เตา อ่างล้างจาน และตู้เย็น ควรวางในตำแหน่งมุมของสามเหลี่ยม ซึ่งตอบสนองไลฟ์สไตล์แบบเดิมที่ห้องกินข้าวแยกกับห้องครัว แม่เป็นแม่บ้านอยู่บ้านคนเดียว จ่ายตลาดบ่อย และไม่มีปาร์ตี้ แต่ทุกวันนี้ไลฟ์สไตล์ของคนส่วนมาก

ได้เปลี่ยนไปเป็นกินข้าวในครัวเลย พ่อและแม่ออกไปทำงานทั้งคู่ หรืออยู่เป็นครอบครัวขยาย จ่ายตลาดสัปดาห์ละครั้ง มีปาร์ตี้บ่อย การจัดวางผังในครัวสมัยนี้ จึงมีรูปแบบที่ยืดหยุ่นมากขึ้นเพื่อรองรับไลฟ์สไตล์ที่เปลี่ยนไป จากผังครัวแบบตัวแอล ตัวยู ตัวไอ หรือแบบคู่ขนานที่เราคุ้นเคย ก็อาจปรับไปได้หลากหลายมากขึ้น

จากขั้นตอนการวัดพื้นที่และลองวาดผังพื้น อาจสังเกตได้ว่า ครัวของคุณไม่ได้มีลักษณะเป็นห้องที่มีผนังปิดล้อมที่ด้านอีกต่อไป แต่เป็นครัวที่เชื่อมพื้นที่ต่อเนื่องกับส่วนอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นส่วนกินข้าว ห้องพักผ่อน หรือแม้แต่สวน

ก่อนลงมือวางผังห้องครัวและทำชุดครัวบิ้วท์อินลองดูตัวอย่างการจัดวางที่หลุมจากกรอบห้องครัวแบบเดิมๆ เพื่อหารูปแบบครัวที่ตอบสนองการใช้งานของคุณได้จริงๆ

ข้อควรคำนึงเมื่อวางผังครัว

  • อย่าลืมเผื่อพื้นที่ทำงานบนเคาน์เตอร์ใกล้ๆอ่างล้างจาน เตา และตู้เย็นให้เพียงพอ
  • อย่างวางเครื่องใช้ไฟฟ้าไว้ที่มุมห้อง เนื่องจากใช้ไม่สะดวก เข้าถึงยากและอาจเกิดอันตรายได้
  • ไม่ทำตู้ลิ้นชักเข้ามุม เพราะทำให้เสียพื้นที่เก็บของ
  • เตาและเตาอบไม่ควรอยู่ใกล้กับตู้เย็น เพราะความร้อนจากเตาทำให้ตู้เย็นทำงานหนักมากขึ้น
  • ไม่ควรวางตำแหน่งเตาตรงกับหน้าต่าง โดยเฉพาะเตาแก๊ส เพราะลมที่พัดมาอาจพัดเปลวไฟเข้าหาตัวเราขณะปรุงอาหารได้
  • ที่เก็บจานชามและช้อนส้อมควรอยู่ใกล้กับอ่างล้างจาน
  • หม้อและถาดควรเก็บไว้ใกล้กับเตาอบ
  • เมื่อกำหนดระยะทางเดินในครัว ควรคำนึงถึงระยะเมื่อเปิดบานเปิดต่างๆ ทั้งตู้เย็น เตาอบ และตู้ใต้เคาน์เตอร์

การจัดวางระยะที่เหมาะสม

ในการทำชุดครัวบิ้วท์อิน ควรใส่ใจในระยะต่างๆในครัวที่ใช้เป็นระยะมาตรฐานเกิดจากการสำรวจพฤติกรรมการใช้งานที่สอดคล้องกับขนาดสัดส่วนร่างกายของคนเราโดยเฉลี่ย เมื่อคุณจัดวางผังและออกแบบห้องครัวโดยคำนึงถึงระยะต่างๆ ต่อไปนี้ จะช่วยให้การใช้งานในครัวนั้นสะดวกและปลอดภัยมากขึ้น

  • เคาน์เตอร์ครัวกว้าง 60 เมตร
  • เคาน์เตอร์ครัวสูง 80 – 0.85 เมตร
  • ตู้ครัวควรมีระยะกันเตะสูง 10 เซนติเมตร และลึก 5 เซนติเมตร
  • ตู้แขวนควรสูงจากเคาน์เตอร์ 40 เมตร
  • ตู้แขวนควรลึกจากด้านหน้าเคาน์เตอร์ 30 เมตร
  • ชั้นบนสุดของตู้แขวนไม่ควรสูงเกิน 70 เมตร
  • ชั้นเปิดโล่ง ไม่มีบานปิด ควรกว้าง 15-25 เซนติเมตร
  • พื้นที่เตรียมอาหารระหว่างตู้เย็นกับอ่างล้างจานไม่น้อยกว่า 30 เมตร
  • พื้นที่เตรียมอาหารระหว่างเตากับอ่างล้างจานไม่น้อยกว่า 30 เมตร
  • ทางเดินในครัวควรกว้างไม่น้อยกว่า 25 เมตร (สำหรับ 2 คน)
  • ทางเดินในครัวขนาดเล็กไม่น้อยกว่า 75 เมตร

ตำแหน่งงานระบบไฟฟ้าในครัว

สำหรับชุดครัวบิ้วท์อินต้องมีการจัดวางตำแหน่งของเครื่องใช้ไฟฟ้าให้สอดคล้องกับสัดส่วนร่างกาย เพื่อให้ใช้งานได้สะดวก ระยะมาตรฐานสำหรับการปล่อยสายไฟต่อไปนี้น่าจะช่วยให้คุณและช่างทำงานร่วมกันได้ง่ายขึ้น

ถ้าจะให้ดี ก่อนวางผังครัวตามระยะมาตรฐาน ควรวัดขนาดของเครื่องใช้ที่คุณเล็งไว้ อย่างตู้เย็น เตา อ่างล้างจาน เครื่องดูดครัว หรือตู้เตาอบ เพื่อใช้ประกอบในการวางผัง เผื่อว่า รุ่นที่คุณชอบอาจมีขนาดต่างไปจากแบบมาตรฐานทั่วไป เช่น อ่างล้างจานที่ลึกพิเศษ หากติดตั้งที่ระยะความสูงเคาน์เตอร์มาตรฐาน อาจทำให้ล้างไปปวดหลังไปเพราะต้องก้มมากกว่าปกติ เป็นต้น

ระบุในแบบก่อสร้างว่า “ปล่อยสายสำหรับเตาอบ เครื่องดูดครัว และเตา เจาะช่องปล่อยสายสำหรับไมโครเวฟใส่ปลั๊กอเนกประสงค์” ระยะมาตรฐานเกิดจากการหาค่าเฉลี่ย จึงสามารถยืดหยุ่นได้ คุณอาจทดลองหาระยะที่พอดีกับร่างกายและการใช้งานต่างๆของคุณเอง โดยเฉพาะกิจกรรมที่ต้องทำต่อเนื่องเป็นเวลานาน เช่น ล้างจาน หรือเตรียมอาหาร อาจใช้เฟอร์นิเจอร์ที่มีอยู่ เช่น ลองหั่นผักบนโต๊ะเพื่อหาความสูงของเคาน์เตอร์ครัวที่สบายสำหรับคุณ พูลวิลล่าภูเก็ต หรือไปทดลองกับโชว์รูมห้องครัว เช่น ลองเอื้อมมือเปิดปิดตู้แขวน ลองทำท่าล้างจาน แล้วสังเกตตัวเองว่ารู้สึกสบายกับระยะเหล่านั้นหรือไม่ ถ้าใช่ก็จัดการวัดระยะและจดบันทึกเป็นมาตรฐานส่วนตัวได้

บิ้วอิน (Built-in) 3 ข้อควรรู้ก่อนทำทำบิ้วอิน 

ความหมายโดยทั่วไปของบิ้วอินหมายถึงการทำเฟอร์นิเจอร์ในคอนโดให้เป็นแบบตายตัว ไม่สามารถที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนได้ โดยมากโรงงานเฟอร์นิเจอร์บิ้วอินจะมีการทำเฟอร์นิเจอร์สำเร็จรูปและก็มาประกอบให้ลูกค้าเลือกได้ตามที่ใจต้องการ ว่าจะทำเฟอร์นิเจอร์บิ้วอินตรงไหนของบริเวณบ้าน ทำเฟอร์นิเจอร์อะไร หรือใช้วัสดุอะไรมาทำก็สามารถเลือกได้ ส่วนใหญ่แล้วนั้นการทำเฟอร์นิเจอร์ บิ้วอิน มักปรากฏในพื้นที่สำคัญๆในบ้านอย่าง เคาน์เตอร์ในห้องครัว ตู้เสื้อผ้าในห้องนอน หรือชั้นวางทีวีและก็ของที่เอาไว้ประดับบ้านต่างๆถือว่าช่วยอำนวยความสะดวกให้กับการจัดระเบียบข้าวของภายในบ้านให้วางไว้เป็นที่เป็นทาง และก็ง่ายต่อการทำความ สะอาดมากๆ  โดยวันนี้เรามีข้อสำคัญที่ควรรู้ก่อนทำบิ้วอินที่เรานำมาฝาก มี 3 ข้อด้วยกัน

1.เลือกโรงงานเฟอร์นิเจอร์บิ้วอินที่ได้มาตรฐาน 

หากเราตัดสินใจที่จะทำบิ้วอินภายในบ้าน การเลือกโรงงานเฟอร์นิเจอร์บิ้วอินที่ได้มาตรฐาน ถือเป็นหัวใจหลักในการทำ เพราะหากเลือกซื้อมาแล้วมีความไม่แข็งแรงทนทาน ก็จะเสียดายเงินในกระเป๋าเปล่าๆ การเลือกโรงงานที่ได้มาตรฐานอาจลองหารีวิวทางอินเทอร์เนตว่ามีโรงงานในได้รับความนิยม ออกแบบสวย บริการหลังการขายดี และราคาน่าพึงพอใจ เพราะบิ้วอินถือเป็นอีกหนึ่งการตกแต่งบ้านที่ถ้าอยากเปลี่ยนใจหรือมีปัญหาจะทำการเปลี่ยนหรือเคลื่อนย้ายนั้นลำบากมากๆ เพราะเป็นการทำที่ยึดติดไปกับผนังหรือพื้นที่นั้นๆเลย 

2.คำนวณงบประมาณ 

ในการตกแต่งบ้านทุกครั้ง การคำนวณงบประมาณก่อนการตัดสินใจถือว่าเป็นสิ่งสำคัญมาก หากเราคำนวณไม่ดี งบในการตกแต่งอาจบานปลายไม่คุ้มกัน การลองปรึกษาเรื่องราคากับโรงงานเฟอร์นิเจอร์บิ้วอินโดยตรงอาจช่วยทำให้เราเห็นภาพพื้นที่บ้านในฝันและเงินที่ต้องเตรียมไว้ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น 

3.แบบบิ้วอินที่ใช่ 

แน่นอนว่าการเลือกอะไรบางอย่างเข้า ต้องเป็นสิ่งที่เราชอบสมดั่งคติปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ การเลือกแบบบิ้วอินที่ใช่ อาจลองหาจากช่องทางออนไลน์ เช่น เว็บไซต์ต่างประเทศอย่าง Pinterest หรือจะลองขอดูแบบ จากโรงงานเฟอร์นิเจอร์บิ้วอินโดยตรง อาจลองระบุความต้องการของตนเองไปก่อนเช่น อยากได้วัสดุอะไร ชอบสีไหนเป็นพิเศษ และต้องการเฟอร์นิเจอร์อะไรบ้าง เพื่อตอบโจทย์ทุกการใช้งานอย่างแท้จริง 

เป็นยังไงกันบ้างสำหรับเคล็ดลับ ที่ควรรู้ก่อนทำบิ้วอิน ที่เรานำมาฝากในวันนี้ ขอให้ทุกคนเจอแบบบิ้วอินที่ใช่ และเฟอร์นิเจอร์ที่ตรงใจกัน